'โปรตีนทางเลือก' อาหารแปรรูปที่มีแนวโน้มเติบโตในอาเซียน
อรรถรสในการกินอาจไม่เหมือนแต่ถ้าไม่ซีเรียสก็ไม่แย่
ดังนั้น เมื่อจะทำโปรตีนทดแทน จึงต้องมีการนำเอาความรู้ด้านเทคโนโลยีทางอาหารมาพัฒนาปรับปรุงให้โปรตีนที่ได้จากพืชสามารถให้ประโยชน์เทียบเท่ากับโปรตีนจากสัตว์
• ปัญญาพลวัตร โดย พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
ปัจจัยผลักดันโปรตีนทางเลือกให้เป็นที่นิยมมากขึ้น
อย่างไรก็ดี ความรู้สึกที่ว่าของที่ทำมาจากการหมักเชื้อราอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อาจทำให้โปรตีนทดแทนประเภทนี้ยังต้องใช้เวลากว่าที่จะเปลี่ยนความรับรู้และสร้างการยอมรับจากผู้บริโภค
ทุกคนรู้ดีว่าการจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น ส่วนหนึ่งก็มาจากพฤติกรรมสุขภาพของตัวเราเองนี่แหละ โดยเฉพาะพฤติกรรมการกินอาหาร เพราะจริงๆ เราก็รู้ว่าอาหารอะไรที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งเราก็เป็นคนเลือกเองว่าจะกินหรือไม่กิน เช่น ถ้าเมนูไม่ถูกใจ รสชาติไม่ถูกปาก เราก็ไม่กินทั้งๆ ที่รู้ว่ามีประโยชน์ ในขณะเดียวกัน หากเป็นเมนูโปรด ต่อให้มันเป็นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ถึงจะถูกเรียกว่า “อาหารขยะ” เราก็ไม่สนใจ ก็จะกินอยู่ดี
แมชชีนทูลส์ คัทติ้งทูลและวัสดุสิ้นเปลือง ทูลลิ่ง มาตรวิทยา ระบบอัตโนมัติ โปรตีนทางเลือก โลหะแผ่น งานเชื่อม คอนโทรล, ซอฟต์แวร์, โรงงานอัจฉริยะ อุปกรณ์โรงงาน เครื่องจักรพลาสติกและอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ไดเรกทอรี
โปรตีนทางเลือกโปรตีนจากพืชโปรตีนสุขภาพกายโภชนาการดูแลสุขภาพสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพอาหาร
“หากสามารถทำให้โปรตีนทางเลือกมีราคาถูกลง คนเข้าถึงได้ง่ายขึ้น โปรตีนทางเลือกจะกลายเป็นส่วนหนึ่งในเมนูของร้านอาหารตามสั่ง นอกจาก หมู ไก่ กุ้ง แล้ว ยังมีโปรตีนจากพืชให้เลือก คนที่อยากกินอาหารที่ให้รสชาติแบบเนื้อสัตว์อยู่ก็สามารถสั่งโปรตีนทางเลือกได้หรือแม้แต่ผสมระหว่างโปรตีนทางเลือกกับเนื้อสัตว์ได้ซึ่งก็จะส่งผลดีมากกว่าทานเนื้อสัตว์อย่างเดียว” นายจักรชัยกล่าว
ตลาดโปรตีนทางเลือกเติบโตอย่างรวดเร็ว บริษัทผู้ผลิตอาหารขนาดใหญ่ต่างให้ความสนใจในการลงทุนและพัฒนาโปรตีนทางเลือกเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภค ทำให้เกิดโอกาสใหม่ๆ ในการสร้างธุรกิจและผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ตลาดสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ของว่างที่ไม่ใช่แท่ง เช่น ธัญพืชผสมผลไม้แห้ง เนื้ออบแห้ง โยเกิร์ต ถั่วเหลืองอ่อน ขนมขบเคี้ยวกรุบกรอบที่ทำมาจากธัญพืช อาทิ ถั่วชิกพี ถั่วเลนทิลหรือแป้งข้าวกล้อง เนยถั่วแบบพกพา และสมูทตี้ เป็นต้น
ในปัจจุบัน มีแหล่งอาหารที่สามารถสร้างโปรตีนทดแทนได้จากหลายแหล่ง เช่น
ยังไม่หมดเท่านั้น การทำการเกษตรเพื่อนำผลผลิตไปใช้ในการเลี้ยงสัตว์ ก็ยังต้องอาศัยทรัพยากรน้ำและดินเป็นจำนวนมากเช่นกัน ดังนั้น คงจะดีไม่น้อยถ้าเราสามารถลดการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ลง ในขณะที่ไม่ได้กระทบต่อการกินอาหารของคนเราเท่าไรนัก ก็จะถือเป็นการช่วยรักษาทรัพยากรธรรมชาติได้อีกทางหนึ่ง
อีกหนึ่งฮับสำคัญในการผลิตโปรตีนทางเลือกคือสิงคโปร์ เนื่องจากเป็นประเทศแรกในโลกที่อนุมัติให้ผลิตและจัดจำหน่ายเนื้อสังเคราะห์จากห้องทดลอง พร้อมอนุมัติให้ส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกา อีกทั้งโปรตีนทางเลือกยังเป็นอุตสาหกรรมที่ภาครัฐให้การสนับสนุนการลงทุนเป็นอย่างมาก และมีระดับเทคโนโลยีสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน